คำถามที่พบบ่อย
คำถามที่พบบ่อย
🆀 คำถามกรณี กฎระเบียบ ประกาศ ของ“การลงทุนต่างประเทศผ่านกองทุนส่วนบุคคล"
🅰 1. ในเรื่องของ กองทุนส่วนบุคคล กรณีไปลงทุนในต่างประเทศ ซึ่งไม่สามารถลงทุนเป็นคณะบุคคลได้
หากกองทุนส่วนบุคคล (คนเดียว) เสียชีวิตในทางกฎหมายจะดำเนินการอย่างไร เช่นสามารถมอบให้
บุคคลอื่นเป็นผู้รับมอบอำนาจแทนได้หรือไม่
ตอบ: ต้องดำเนินการตามกฎหมายมรดก
2. มีแหล่งข้อมูลไหน ถ้าอยากทราบว่ามีบริษัทจัดการ หรือ ธนาคาร ใดที่มีใบอนุญาตในการทำ กองทุนส่วนบุคคลในปัจจุบันแล้ว
ตอบ: เว็บไซต์ของสมาคมบริษัทจัดการลงทุน/สำนักงาน ก.ล.ต.
3. ในกรณีที่ลูกค้าได้รับ Approve ในการลงทุนต่างประเทศ จาก 2 Broker + 1 PF และยื่นขอ ใช้เงินครั้งละ 500,000 $ พร้อมกันทั้ง 3 institution ได้หรือไม่ ( แห่งละ 500,000 $ ) หรือ 3 แห่ง รวมกัน 500,000 $ (ถ้าเป็นประการหลัง หาก Broker A ยื่นขอก่อน 500,000 $ หมายความว่า Broker B จะขอยื่นใช้วงเงินไม่ได้จนกว่า 500,000 $ แรกที่ Broker A ใช้หมดใช่หรือไม่)
ตอบ: ตามระบบอนุมัติวงเงินที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ผู้ที่ยื่นขอวงเงินก่อน จะได้รับวงเงินก่อน และผู้ที่ยื่นขอ วงเงินรายถัดไปจะไม่สามารถยื่นขอวงเงินได้จนกว่าจะมีการลงทุนผ่านผู้ที่ยื่นขอครั้งแรกเกินกว่าร้อยละ 80 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (ร้อยละ 80 ของ 500,000 บาท)
หากเป็นระบบอนุมัติวงเงินใหม่ ผู้ที่ยื่นขอวงเงินก่อน มีสิทธิ์ได้รับวงเงินตามจำนวนที่ขอก่อน
4. คำว่า “นิติบุคคลที่มีทรัพย์สินตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป” ในเรื่องวงเงินลงทุนในต่างประเทศ ขอเรียนถามว่า “กองทุนส่วนบุคคลประเภทสถาบัน เช่น กบข. สำนักงานประกันสังคม เรานับทรัพย์สิน ของนิติบุคคลเฉพาะกองทุนหรือทรัพย์สินของสถาบัน เพื่อจะดูจำนวน 1,000 ล้านบาท”
ตอบ: กบข. และสำนักงานประกันสังคม เป็นหน่วยงานที่สามารถขอวงเงินกับ ธปท. ได้โดยตรง และถือ เป็นวงเงินแยกต่างหากไม่นับรวมกับวงเงินที่ ธปท. จัดสรรให้สำนักงาน ดังนั้น กรณี กองทุนส่วนบุคคล ของลูกค้าประเภทดังกล่าว ไม่ต้องยื่นขอวงเงินผ่านระบบ FIA ของสำนักงาน
5. หากผู้ลงทุนนำเงินบาทไปแลก สกุลเงิน $ และเวลากลับเข้ามาในประเทศไทย แลกสกุลเงิน ฿ ได้หรือไม่
ตอบ: สามารถแลกเปลี่ยนเป็นเงินบาทได้ และ บลจ. ต้องแจ้งคืนวงเงินต่อสำนักงานผ่านระบบ FIA หรือสามารถคงเงินสกุล $ ไว้ในบัญชี FCD เพื่อรอลงทุนต่อไปก็ได้
6. ถ้าสนใจลงทุนในต่างประเทศ จะต้องขออนุญาตนำเงินออกนอกประเทศผ่าน ธปท. อย่างไร
ตอบ: ผู้ลงทุนต้องทำสัญญาว่าจ้างบริษัทจัดการลงทุนที่มีใบรับอนุญาตจัดการกองทุนส่วนบุคคลให้ เป็นผู้ดำเนินการยื่นขออนุญาตลงทุนต่างประเทศ ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์และธนาคารแห่งประเทศไทย
7. การฝากเงิน/ / ตราสารที่เทียบเท่าเงินสด กองทุนส่วนบุคคล สามารถลงทุนได้หรือไม่ และจัดอยู่ใน ประเภทใดใน 5 ข้อ (ตาม Presentation)
ตอบ: ผู้ลงทุนต้องทำสัญญาว่าจ้างบริษัทจัดการลงทุนที่มีใบรับอนุญาตจัดการกองทุนส่วนบุคคลให้ เป็นผู้ดำเนินการยื่นขออนุญาตลงทุนต่างประเทศ ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์และธนาคารแห่งประเทศไทย
8. ถ้านำเงินไปลงทุนและนำกลับไปฝากไว้ในบัญชี FCD (Foreign Currency Deposit) จะถือว่านำเงิน กลับประเทศหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ FCD ที่เปิดกับ Bank ในประเทศ / ต่างประเทศ หรือไม่
ตอบ: หากยังคงเงินไว้บัญชี FCD โดยยังไม่แลกเปลี่ยนเงินเป็นสกุลเงินบาท ถือว่ายังไม่ได้นำเงินกลับ เข้าประเทศ
9. ถ้าลงทุนโดยการซื้อหุ้นในปี 2551 และขายใน 2551 จำเป็นต้องนำเงินค่าขายและกำไรในปีกลับมา ภายในที่กำหนดของ ธปท. หรือไม่ (ค่าขาย และ กำไร แยกกันหรือเปล่า)
ตอบ: ไม่จำเป็นต้องนำกลับเข้ามา
10. การจัดสรรวงเงิน ของสำนักงาน ก.ล.ต. หากขอวงเงิน / ราย บุคคลธรรมดา 5 ล้านเหรียญ ได้อนุมัติแล้ว เดือนสิงหาคม หากเกิน 30 วันแล้วจะต้องขออนุมัติวงเงิน / ราย ใหม่หรือไม่
ตอบ: การขออนุมัติวงเงิน จะยื่นขอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยเพียงครั้งเดียว เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว จึงมายื่นขอใช้วงเงินต่อสำนักงาน ก.ล.ต. หากไม่มีการใช้วงเงินภายใน 30 วัน จะต้องทำการขอใช้ วงเงินใหม่ต่อสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.
11. ถ้ากู้เงินจากต่างประเทศมาทำธุรกิจและมีการลงทุนผ่าน กองทุนส่วนบุคคล เมื่อมีการขายสามารถนำ เงินขายไปชำระเงินกู้ที่ต่างประเทศเลยได้หรือไม่
ตอบ: ธนาคารแห่งประเทศไทยอนุญาตให้ผู้ลงทุนนำเงินค่าขายหลักทรัพย์ในต่างประเทศและ ผลตอบแทนจากการลงทุนไปลงทุนต่อในหลักทรัพย์ต่างประเทศเท่านั้น หากไม่ประสงค์จะ ลงทุนต่อ ผู้ลงทุนต้องนำเงินดังกล่าวกลับเข้ามาในประเทศทันที การนำเงินค่าขายไปชำระเงินกู้ จึงเป็นการดำเนินการผิดวัตถุประสงค์
12. ถ้าบุคคลธรรมดา ลงทุนในต่างประเทศ ด้วย Asset คล้ายกัน นโยบายการลงทุนคล้ายกัน, ระยะ เวลาการลงทุนเท่ากัน, ความเสี่ยงเท่ากัน เทียบระหว่างกองทุนรวมกับกองทุนส่วนบุคคล กองทุน ส่วนบุคคล จะมีข้อได้เปรียบกองทุนรวมอย่างไร
ตอบ: กองทุนส่วนบุคคล เป็นการตกลงทำสัญญาระหว่าง บลจ. กับลูกค้า ไม่มีขั้นตอนการยื่นขอ อนุมัติจัดตั้งกองทุนต่อสำนักงาน กลต. นอกจากนี้ กรณี กองทุนส่วนบุคคล ลูกค้าสามารถนำเงิน ลงทุนเพิ่ม/ถอน ได้ตามความประสงค์ของลูกค้า ในขณะที่กองทุนรวมจะมีการกำหนดระยะเวลา การซื้อ/ขายคืนตามที่กองทุนรวมกำหนด
13. ปัจจุบัน กองทุนส่วนบุคคล สามารถลงทุนใน Hedge Fund ได้หรือไม่
ตอบ: ยังไม่สามารถลงทุนได้ แต่สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. อยู่ระหว่างการพิจารณาขยาย ประเภทสินทรัพย์ที่กองทุนส่วนบุคคลสามารถลงทุนได้ในต่างประเทศ
14. Real Estate ต้องลงทุนผ่าน Property Fund ใช่หรือไม่
ตอบ: กองทุนส่วนบุคคลสามารถลงทุนในหุ้นของบริษัทที่ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์หรือกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศได้
15. การลงทุนผ่าน กองทุนส่วนบุคคล (บลจ.) เปรียบเสมือนมีคนช่วยแนะนำในการออกแบบเสื้อให้ หมายความว่า บลจ. กำลังทำหน้าที่ในฐานะของ Investment Advisor ด้วยใช่หรือไม่
ตอบ: กองทุนส่วนบุคคลสามารถลงทุนในหุ้นของบริษัทที่ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์หรือกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศได้
16. ขอทราบข้อมูลของพันธบัตรต่างประเทศ ที่น่าสนใจ จะดูข้อมูลเปรียบเทียบ และให้ช่วยแนะนำว่า ประเทศใดน่าลงทุนตามระดับความเสี่ยงประเทศ + Exchange Rate Risk
ตอบ: ผู้ลงทุนสามารถเข้าไปดูข้อมูลอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของประเทศในภูมิภาคเอเชีย และสหรัฐอเมริกาได้จากเว็บไซต์นี้ http://asianbondsonline.adb.org/regional/regional.php อย่างไรก็ตาม การลงทุนในต่างประเทศมีปัจจัยที่จะต้องพิจารณาเพิ่มเติมหลายประการ นอกเหนือจาก อัตราผลตอบแทนเพียงอย่างเดียว โดยจะต้องพิจารณาปัจจัยประกอบทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ การเมือง รวมไปถึงอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศที่ไปลงทุน ผู้ลงทุนจึงควรปรึกษาผู้จัดการกองทุน
17. ขั้นตอนการลงทุนในต่างประเทศ หลังจากได้ Approved Code แล้ว ผู้ลงทุนสามารถแลกเงิน กับธนาคารแล้วไปฝากไว้ในบัญชี FCD ก่อนไปลงทุนจริงได้หรือไม่ หากได้ขอจัดสรรวงเงินลงทุน เพิ่มได้หรือไม่
ตอบ: ได้ และเมื่อฝากเงินกับบัญชี FCD แล้ว ก็สามารถมาขอวงเงินเพิ่มเติมในระบบ FIA ได้
18. กองทุนส่วนบุคคล ลงทุนใน Junk Bond ได้หรือไม่
ตอบ: ได้
19. นักลงทุนสามารถลงทุนได้นานที่สุดกี่ปี
ตอบ: ไม่มีกำหนดระยะเวลา
20. บริษัทที่มีเงินกู้จากสถาบันการเงินจะมีสิทธิไปขอลงทุนในต่างประเทศได้หรือไม่
ตอบ: ได้ หากเงินกู้จากสถาบันการเงินเป็นเงินกู้เพื่อทำธุรกิจ ไม่ใช่กู้เงินเพื่อมาลงทุนใน กองทุนส่วนบุคคล
21. อยากทราบเวลาที่ใช้ในการพิจารณาของ ธปท. เพราะเท่าที่ทราบ สำนักงาน ก.ล.ต. จะใช้เวลา ไม่เกิน 1 สัปดาห์ แต่ ธปท. ใช้ระยะเวลานาน และการขอแต่ละครั้งจะใช้ระยะเวลาพิจารณาต่างกัน อยากทราบกำหนดที่ชัดเจนเพื่อตอบลูกค้าได้
ตอบ: ธนาคารแห่งประเทศไทยใช้เวลาประมาณ 7 วันในการพิจารณาอนุมัติ
22. กองทุนส่วนบุคคลลงทุนใน High Yield ไม่ได้ใช่หรือไม่ สำนักงาน ก.ล.ต. คิดว่าจะพิจารณา Commodity ประเภทอื่นนอกจากน้ำมัน ได้อีกหรือไม่
ตอบ: ลงทุนใน High Yield ได้ และสามารถลงทุนใน Commodity ประเภทอื่นนอกจากน้ำมันได้ ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สน.28/2549
23. ถ้าลูกค้าลงทุนหลาย บลจ. ทำให้การลงทุนเกินจำนวนที่กำหนด มีความผิดหรือไม่ ถ้ามีเป็นความผิด ของใคร มีค่าปรับอย่างไร
ตอบ: เป็นความผิดของลูกค้า ตาม พรบ. ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน อย่างไรก็ดี บริษัทจัดการต้องมี ระบบในการตรวจสอบวงเงินของลูกค้าในส่วนที่ บลจ. รับผิดชอบ และ สำนักงาน กลต. ได้ออกแบบระบบ ควบคุมวงเงิน เพื่อป้องกันไม่ให้มีการใช้วงเงินเกินกำหนด
24. การขอเพิ่มวงเงินในการลงทุน สำนักงาน ก.ล.ต. ใช้เวลาในการพิจารณาเพิ่มกี่วัน
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
25. เมื่อมีการลงทุนเรียบร้อยแล้ว บลจ. ต้องนำส่งรายงานให้ ธปท. / สำนักงาน ก.ล.ต. ภายในกี่วัน
ตอบ: บลจ. ต้องรายงานการนำเงินออกเงินตราต่างประเทศผ่านระบบ FIA ของสำนักงาน ภายในวันถัดไป นับจากวันที่มีการโอนเงินเข้าออกต่างประเทศ และรายงานสถานะยอดคงค้างต่อ ธปท. และสำนักงาน ภายใน 10 วันนับจากวันสิ้นเดือนของแต่ละเดือน
26. ไม่ทราบว่า Hedge Fund ในลักษณะ Fund of hedge fund ลงทุนได้หรือไม่
ตอบ: ปัจจุบันยังไม่สามารถลงทุนได้ แต่สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. อยู่ระหว่างการพิจารณาขยาย ประเภทสินทรัพย์ที่กองทุนส่วนบุคคลสามารถลงทุนได้ในต่างประเทศ
27. Dual currencies ลงทุนได้หรือไม่ หากไม่มี บาท เข้าไปเกี่ยวข้อง เช่น Dollar / Yen เนื่องจาก ธปท. ไม่ได้มีข้อห้าม หากไม่ไปเล่นค่าเงินบาท
ตอบ: สำนักงานไม่ได้มีข้อห้ามเกี่ยวกับการทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สำหรับกองทุน ส่วนบุคคลรายใหญ่ อย่างไรก็ดี จากการสอบถาม ธปท. ได้รับคำยืนยันว่า การทำสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า หรืออนุพันธ์ทางการเงินด้านอัตราแลกเปลี่ยนต้องทำกับนิติบุคคลรับอนุญาตใน ประเทศไทยเท่านั้น และต้องมิใช่เพื่อการเก็งกำไรอัตราแลกเปลี่ยน และหากประสงค์จะทำกับคู่สัญญาใน ต่างประเทศ ต้องส่งเรื่องให้เจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินทราบก่อน
28. ในกรณีกองทุนรวมสามารถลงทุนใน Derivative เพื่อป้องกันความเสี่ยงได้ ถามว่าในกรณี กองทุนส่วนบุคคล สามารถลงทุนใน Derivative เพื่อเก็งกำไร เช่น สัญญาซื้อขายน้ำมันล่วงหน้า
ตอบ: สามารถลงทุนได้ ทั้งนี้คู่สัญญาต้องเป็นไปตามข้อ 36(4) ของประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สน.28/2549
29. สรุปแล้วมีหน่วยงานใดหรือไม่ ที่ตรวจสอบวงเงินใช้ไปของลูกค้ารายบุคคลทั้งหมด
ตอบ: ธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.
30. กรณีที่บริษัทหลักทรัพย์ (ทุนจดทะเบียน 1,000 ล้านบาท) ลงทุนผ่าน กองทุนส่วนบุคคลถามว่า ใครเป็นคนส่งรายงานให้ ธปท. (บล. ที่เป็นผู้ลงทุน หรือ กองทุนส่วนบุคคล)
ตอบ: บริษัทจัดการที่เป็นผู้บริหารกองทุนส่วนบุคคลเป็นผู้รายงาน
31. AIMC ได้จัดทำสัญญามาตรฐานสำหรับกองทุนส่วนบุคคลที่จะไปลงทุนในต่างประเทศไว้หรือไม่
ตอบ: ไม่มี
32. กรณีแหล่งเงินได้นอกประเทศ จะเสียภาษี หากนำเงินได้กลับมาในปีภาษีเดียวกันขอเรียนถามว่า “หากนำเงินได้กลับมาในปีถัดมา ก็จะไม่มีการเสียภาษีและไม่ต้องนำเงินได้ที่นำกลับมานั้นมาคิดเป็น เงินได้พึงประเมินในการเสียภาษีเงินได้ในปีนั้นด้วยใช่หรือไม่”
ตอบ: ใช่
33. การลงทุนต่างประเทศ ควรลงทุนในนาม บุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล ดีกว่า ถ้าไม่คำนึงถึงภาษี
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
34. บริษัทจำกัด ลงทุนในต่างประเทศ ขาดทุนนำมา Credit ภาษี ได้หรือไม่
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
35. มาตรา 41 วรรค 2, 3 ตัวอย่าง นาย ก. อยู่ในประเทศไทยตลอดปีภาษี และมีเงินปันผล ต่างประเทศในปี 2550 แต่นำกลับเข้ามาในปี 2551 ต้องเสียภาษีหรือไม่ เนื่องจากเป็นเงินได้พึง ประเมินในปีภาษีที่ล่วงมาแล้ว
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
36. ลงทุนหุ้นต่างประเทศ 1 ล้านเหรียญ เดือนสิงหาคม 2551 ณ 31 ธันวาคม 2551 ราคาหุ้น ไม่เปลี่ยนแปลง นั่นคือ มูลค่าหุ้นยังเป็น 1 ล้านเหรียญในเดือนกรกฎาคม 2552 ขายเงินลงทุน ได้เงินกลับมา1.2 ล้านเหรียญ แล้วนำกลับเข้ามาในประเทศถามว่า ต้องเสียภาษีไหม (เงินได้เกิดปี 2552 และนำกลับมาในปี 2552 หรือต้องดูตาม Cash Basis)
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
37. เงินได้เกิดในปีภาษีนั้น และนำกลับเข้ามาในปีภาษีนั้น จึงต้องนำมาคิดรวมเป็นเงินได้พึงประเมิน เพื่อเสียภาษี
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
38. อยากทราบว่าถ้าบุคคลธรรมดาที่มีถิ่นฐานในประเทศไทยลงทุนได้กำไร ในปีภาษี 2551 แต่นำเงิน กลับเข้าประเทศในปี 2552 แสดงว่าปี 2552 ไม่ต้องเสียภาษีใช่หรือไม่
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
39. บุคคลธรรมดาลงทุนต่างประเทศ ปี 2551 มีกำไรหุ้น 1 ล้านบาท ขาดทุน Commodity 0.2 ล้านบาท ถ้านำเงินกลับเข้ามาในประเทศภายในปี 2551ถามว่า ขาดทุน 0.2 ล้านบาท นำมาเป็น ส่วนหักรายได้ ได้หรือไม่ และฐานรายได้ กรณีนี้เป็น 1 ล้านบาท หรือ 0.8 ล้านบาทถามว่า เงินได้ จากต่างประเทศต้องรวมยื่นภาษีกับเงินได้ในประเทศหรือไม่
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
40. กรณีลงทุนแล้วขาดทุน แต่มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เมื่อนำเข้ากลับเข้ามาต้องเสียภาษี หรือไม่
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
ตอบ: ต้องดำเนินการตามกฎหมายมรดก
2. มีแหล่งข้อมูลไหน ถ้าอยากทราบว่ามีบริษัทจัดการ หรือ ธนาคาร ใดที่มีใบอนุญาตในการทำ กองทุนส่วนบุคคลในปัจจุบันแล้ว
ตอบ: เว็บไซต์ของสมาคมบริษัทจัดการลงทุน/สำนักงาน ก.ล.ต.
3. ในกรณีที่ลูกค้าได้รับ Approve ในการลงทุนต่างประเทศ จาก 2 Broker + 1 PF และยื่นขอ ใช้เงินครั้งละ 500,000 $ พร้อมกันทั้ง 3 institution ได้หรือไม่ ( แห่งละ 500,000 $ ) หรือ 3 แห่ง รวมกัน 500,000 $ (ถ้าเป็นประการหลัง หาก Broker A ยื่นขอก่อน 500,000 $ หมายความว่า Broker B จะขอยื่นใช้วงเงินไม่ได้จนกว่า 500,000 $ แรกที่ Broker A ใช้หมดใช่หรือไม่)
ตอบ: ตามระบบอนุมัติวงเงินที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ผู้ที่ยื่นขอวงเงินก่อน จะได้รับวงเงินก่อน และผู้ที่ยื่นขอ วงเงินรายถัดไปจะไม่สามารถยื่นขอวงเงินได้จนกว่าจะมีการลงทุนผ่านผู้ที่ยื่นขอครั้งแรกเกินกว่าร้อยละ 80 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (ร้อยละ 80 ของ 500,000 บาท)
หากเป็นระบบอนุมัติวงเงินใหม่ ผู้ที่ยื่นขอวงเงินก่อน มีสิทธิ์ได้รับวงเงินตามจำนวนที่ขอก่อน
4. คำว่า “นิติบุคคลที่มีทรัพย์สินตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป” ในเรื่องวงเงินลงทุนในต่างประเทศ ขอเรียนถามว่า “กองทุนส่วนบุคคลประเภทสถาบัน เช่น กบข. สำนักงานประกันสังคม เรานับทรัพย์สิน ของนิติบุคคลเฉพาะกองทุนหรือทรัพย์สินของสถาบัน เพื่อจะดูจำนวน 1,000 ล้านบาท”
ตอบ: กบข. และสำนักงานประกันสังคม เป็นหน่วยงานที่สามารถขอวงเงินกับ ธปท. ได้โดยตรง และถือ เป็นวงเงินแยกต่างหากไม่นับรวมกับวงเงินที่ ธปท. จัดสรรให้สำนักงาน ดังนั้น กรณี กองทุนส่วนบุคคล ของลูกค้าประเภทดังกล่าว ไม่ต้องยื่นขอวงเงินผ่านระบบ FIA ของสำนักงาน
5. หากผู้ลงทุนนำเงินบาทไปแลก สกุลเงิน $ และเวลากลับเข้ามาในประเทศไทย แลกสกุลเงิน ฿ ได้หรือไม่
ตอบ: สามารถแลกเปลี่ยนเป็นเงินบาทได้ และ บลจ. ต้องแจ้งคืนวงเงินต่อสำนักงานผ่านระบบ FIA หรือสามารถคงเงินสกุล $ ไว้ในบัญชี FCD เพื่อรอลงทุนต่อไปก็ได้
6. ถ้าสนใจลงทุนในต่างประเทศ จะต้องขออนุญาตนำเงินออกนอกประเทศผ่าน ธปท. อย่างไร
ตอบ: ผู้ลงทุนต้องทำสัญญาว่าจ้างบริษัทจัดการลงทุนที่มีใบรับอนุญาตจัดการกองทุนส่วนบุคคลให้ เป็นผู้ดำเนินการยื่นขออนุญาตลงทุนต่างประเทศ ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์และธนาคารแห่งประเทศไทย
7. การฝากเงิน/ / ตราสารที่เทียบเท่าเงินสด กองทุนส่วนบุคคล สามารถลงทุนได้หรือไม่ และจัดอยู่ใน ประเภทใดใน 5 ข้อ (ตาม Presentation)
ตอบ: ผู้ลงทุนต้องทำสัญญาว่าจ้างบริษัทจัดการลงทุนที่มีใบรับอนุญาตจัดการกองทุนส่วนบุคคลให้ เป็นผู้ดำเนินการยื่นขออนุญาตลงทุนต่างประเทศ ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์และธนาคารแห่งประเทศไทย
8. ถ้านำเงินไปลงทุนและนำกลับไปฝากไว้ในบัญชี FCD (Foreign Currency Deposit) จะถือว่านำเงิน กลับประเทศหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ FCD ที่เปิดกับ Bank ในประเทศ / ต่างประเทศ หรือไม่
ตอบ: หากยังคงเงินไว้บัญชี FCD โดยยังไม่แลกเปลี่ยนเงินเป็นสกุลเงินบาท ถือว่ายังไม่ได้นำเงินกลับ เข้าประเทศ
9. ถ้าลงทุนโดยการซื้อหุ้นในปี 2551 และขายใน 2551 จำเป็นต้องนำเงินค่าขายและกำไรในปีกลับมา ภายในที่กำหนดของ ธปท. หรือไม่ (ค่าขาย และ กำไร แยกกันหรือเปล่า)
ตอบ: ไม่จำเป็นต้องนำกลับเข้ามา
10. การจัดสรรวงเงิน ของสำนักงาน ก.ล.ต. หากขอวงเงิน / ราย บุคคลธรรมดา 5 ล้านเหรียญ ได้อนุมัติแล้ว เดือนสิงหาคม หากเกิน 30 วันแล้วจะต้องขออนุมัติวงเงิน / ราย ใหม่หรือไม่
ตอบ: การขออนุมัติวงเงิน จะยื่นขอต่อธนาคารแห่งประเทศไทยเพียงครั้งเดียว เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว จึงมายื่นขอใช้วงเงินต่อสำนักงาน ก.ล.ต. หากไม่มีการใช้วงเงินภายใน 30 วัน จะต้องทำการขอใช้ วงเงินใหม่ต่อสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.
11. ถ้ากู้เงินจากต่างประเทศมาทำธุรกิจและมีการลงทุนผ่าน กองทุนส่วนบุคคล เมื่อมีการขายสามารถนำ เงินขายไปชำระเงินกู้ที่ต่างประเทศเลยได้หรือไม่
ตอบ: ธนาคารแห่งประเทศไทยอนุญาตให้ผู้ลงทุนนำเงินค่าขายหลักทรัพย์ในต่างประเทศและ ผลตอบแทนจากการลงทุนไปลงทุนต่อในหลักทรัพย์ต่างประเทศเท่านั้น หากไม่ประสงค์จะ ลงทุนต่อ ผู้ลงทุนต้องนำเงินดังกล่าวกลับเข้ามาในประเทศทันที การนำเงินค่าขายไปชำระเงินกู้ จึงเป็นการดำเนินการผิดวัตถุประสงค์
12. ถ้าบุคคลธรรมดา ลงทุนในต่างประเทศ ด้วย Asset คล้ายกัน นโยบายการลงทุนคล้ายกัน, ระยะ เวลาการลงทุนเท่ากัน, ความเสี่ยงเท่ากัน เทียบระหว่างกองทุนรวมกับกองทุนส่วนบุคคล กองทุน ส่วนบุคคล จะมีข้อได้เปรียบกองทุนรวมอย่างไร
ตอบ: กองทุนส่วนบุคคล เป็นการตกลงทำสัญญาระหว่าง บลจ. กับลูกค้า ไม่มีขั้นตอนการยื่นขอ อนุมัติจัดตั้งกองทุนต่อสำนักงาน กลต. นอกจากนี้ กรณี กองทุนส่วนบุคคล ลูกค้าสามารถนำเงิน ลงทุนเพิ่ม/ถอน ได้ตามความประสงค์ของลูกค้า ในขณะที่กองทุนรวมจะมีการกำหนดระยะเวลา การซื้อ/ขายคืนตามที่กองทุนรวมกำหนด
13. ปัจจุบัน กองทุนส่วนบุคคล สามารถลงทุนใน Hedge Fund ได้หรือไม่
ตอบ: ยังไม่สามารถลงทุนได้ แต่สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. อยู่ระหว่างการพิจารณาขยาย ประเภทสินทรัพย์ที่กองทุนส่วนบุคคลสามารถลงทุนได้ในต่างประเทศ
14. Real Estate ต้องลงทุนผ่าน Property Fund ใช่หรือไม่
ตอบ: กองทุนส่วนบุคคลสามารถลงทุนในหุ้นของบริษัทที่ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์หรือกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศได้
15. การลงทุนผ่าน กองทุนส่วนบุคคล (บลจ.) เปรียบเสมือนมีคนช่วยแนะนำในการออกแบบเสื้อให้ หมายความว่า บลจ. กำลังทำหน้าที่ในฐานะของ Investment Advisor ด้วยใช่หรือไม่
ตอบ: กองทุนส่วนบุคคลสามารถลงทุนในหุ้นของบริษัทที่ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์หรือกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศได้
16. ขอทราบข้อมูลของพันธบัตรต่างประเทศ ที่น่าสนใจ จะดูข้อมูลเปรียบเทียบ และให้ช่วยแนะนำว่า ประเทศใดน่าลงทุนตามระดับความเสี่ยงประเทศ + Exchange Rate Risk
ตอบ: ผู้ลงทุนสามารถเข้าไปดูข้อมูลอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของประเทศในภูมิภาคเอเชีย และสหรัฐอเมริกาได้จากเว็บไซต์นี้ http://asianbondsonline.adb.org/regional/regional.php อย่างไรก็ตาม การลงทุนในต่างประเทศมีปัจจัยที่จะต้องพิจารณาเพิ่มเติมหลายประการ นอกเหนือจาก อัตราผลตอบแทนเพียงอย่างเดียว โดยจะต้องพิจารณาปัจจัยประกอบทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ การเมือง รวมไปถึงอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศที่ไปลงทุน ผู้ลงทุนจึงควรปรึกษาผู้จัดการกองทุน
17. ขั้นตอนการลงทุนในต่างประเทศ หลังจากได้ Approved Code แล้ว ผู้ลงทุนสามารถแลกเงิน กับธนาคารแล้วไปฝากไว้ในบัญชี FCD ก่อนไปลงทุนจริงได้หรือไม่ หากได้ขอจัดสรรวงเงินลงทุน เพิ่มได้หรือไม่
ตอบ: ได้ และเมื่อฝากเงินกับบัญชี FCD แล้ว ก็สามารถมาขอวงเงินเพิ่มเติมในระบบ FIA ได้
18. กองทุนส่วนบุคคล ลงทุนใน Junk Bond ได้หรือไม่
ตอบ: ได้
19. นักลงทุนสามารถลงทุนได้นานที่สุดกี่ปี
ตอบ: ไม่มีกำหนดระยะเวลา
20. บริษัทที่มีเงินกู้จากสถาบันการเงินจะมีสิทธิไปขอลงทุนในต่างประเทศได้หรือไม่
ตอบ: ได้ หากเงินกู้จากสถาบันการเงินเป็นเงินกู้เพื่อทำธุรกิจ ไม่ใช่กู้เงินเพื่อมาลงทุนใน กองทุนส่วนบุคคล
21. อยากทราบเวลาที่ใช้ในการพิจารณาของ ธปท. เพราะเท่าที่ทราบ สำนักงาน ก.ล.ต. จะใช้เวลา ไม่เกิน 1 สัปดาห์ แต่ ธปท. ใช้ระยะเวลานาน และการขอแต่ละครั้งจะใช้ระยะเวลาพิจารณาต่างกัน อยากทราบกำหนดที่ชัดเจนเพื่อตอบลูกค้าได้
ตอบ: ธนาคารแห่งประเทศไทยใช้เวลาประมาณ 7 วันในการพิจารณาอนุมัติ
22. กองทุนส่วนบุคคลลงทุนใน High Yield ไม่ได้ใช่หรือไม่ สำนักงาน ก.ล.ต. คิดว่าจะพิจารณา Commodity ประเภทอื่นนอกจากน้ำมัน ได้อีกหรือไม่
ตอบ: ลงทุนใน High Yield ได้ และสามารถลงทุนใน Commodity ประเภทอื่นนอกจากน้ำมันได้ ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สน.28/2549
23. ถ้าลูกค้าลงทุนหลาย บลจ. ทำให้การลงทุนเกินจำนวนที่กำหนด มีความผิดหรือไม่ ถ้ามีเป็นความผิด ของใคร มีค่าปรับอย่างไร
ตอบ: เป็นความผิดของลูกค้า ตาม พรบ. ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน อย่างไรก็ดี บริษัทจัดการต้องมี ระบบในการตรวจสอบวงเงินของลูกค้าในส่วนที่ บลจ. รับผิดชอบ และ สำนักงาน กลต. ได้ออกแบบระบบ ควบคุมวงเงิน เพื่อป้องกันไม่ให้มีการใช้วงเงินเกินกำหนด
24. การขอเพิ่มวงเงินในการลงทุน สำนักงาน ก.ล.ต. ใช้เวลาในการพิจารณาเพิ่มกี่วัน
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
25. เมื่อมีการลงทุนเรียบร้อยแล้ว บลจ. ต้องนำส่งรายงานให้ ธปท. / สำนักงาน ก.ล.ต. ภายในกี่วัน
ตอบ: บลจ. ต้องรายงานการนำเงินออกเงินตราต่างประเทศผ่านระบบ FIA ของสำนักงาน ภายในวันถัดไป นับจากวันที่มีการโอนเงินเข้าออกต่างประเทศ และรายงานสถานะยอดคงค้างต่อ ธปท. และสำนักงาน ภายใน 10 วันนับจากวันสิ้นเดือนของแต่ละเดือน
26. ไม่ทราบว่า Hedge Fund ในลักษณะ Fund of hedge fund ลงทุนได้หรือไม่
ตอบ: ปัจจุบันยังไม่สามารถลงทุนได้ แต่สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. อยู่ระหว่างการพิจารณาขยาย ประเภทสินทรัพย์ที่กองทุนส่วนบุคคลสามารถลงทุนได้ในต่างประเทศ
27. Dual currencies ลงทุนได้หรือไม่ หากไม่มี บาท เข้าไปเกี่ยวข้อง เช่น Dollar / Yen เนื่องจาก ธปท. ไม่ได้มีข้อห้าม หากไม่ไปเล่นค่าเงินบาท
ตอบ: สำนักงานไม่ได้มีข้อห้ามเกี่ยวกับการทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สำหรับกองทุน ส่วนบุคคลรายใหญ่ อย่างไรก็ดี จากการสอบถาม ธปท. ได้รับคำยืนยันว่า การทำสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า หรืออนุพันธ์ทางการเงินด้านอัตราแลกเปลี่ยนต้องทำกับนิติบุคคลรับอนุญาตใน ประเทศไทยเท่านั้น และต้องมิใช่เพื่อการเก็งกำไรอัตราแลกเปลี่ยน และหากประสงค์จะทำกับคู่สัญญาใน ต่างประเทศ ต้องส่งเรื่องให้เจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินทราบก่อน
28. ในกรณีกองทุนรวมสามารถลงทุนใน Derivative เพื่อป้องกันความเสี่ยงได้ ถามว่าในกรณี กองทุนส่วนบุคคล สามารถลงทุนใน Derivative เพื่อเก็งกำไร เช่น สัญญาซื้อขายน้ำมันล่วงหน้า
ตอบ: สามารถลงทุนได้ ทั้งนี้คู่สัญญาต้องเป็นไปตามข้อ 36(4) ของประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สน.28/2549
29. สรุปแล้วมีหน่วยงานใดหรือไม่ ที่ตรวจสอบวงเงินใช้ไปของลูกค้ารายบุคคลทั้งหมด
ตอบ: ธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.
30. กรณีที่บริษัทหลักทรัพย์ (ทุนจดทะเบียน 1,000 ล้านบาท) ลงทุนผ่าน กองทุนส่วนบุคคลถามว่า ใครเป็นคนส่งรายงานให้ ธปท. (บล. ที่เป็นผู้ลงทุน หรือ กองทุนส่วนบุคคล)
ตอบ: บริษัทจัดการที่เป็นผู้บริหารกองทุนส่วนบุคคลเป็นผู้รายงาน
31. AIMC ได้จัดทำสัญญามาตรฐานสำหรับกองทุนส่วนบุคคลที่จะไปลงทุนในต่างประเทศไว้หรือไม่
ตอบ: ไม่มี
32. กรณีแหล่งเงินได้นอกประเทศ จะเสียภาษี หากนำเงินได้กลับมาในปีภาษีเดียวกันขอเรียนถามว่า “หากนำเงินได้กลับมาในปีถัดมา ก็จะไม่มีการเสียภาษีและไม่ต้องนำเงินได้ที่นำกลับมานั้นมาคิดเป็น เงินได้พึงประเมินในการเสียภาษีเงินได้ในปีนั้นด้วยใช่หรือไม่”
ตอบ: ใช่
33. การลงทุนต่างประเทศ ควรลงทุนในนาม บุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล ดีกว่า ถ้าไม่คำนึงถึงภาษี
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
34. บริษัทจำกัด ลงทุนในต่างประเทศ ขาดทุนนำมา Credit ภาษี ได้หรือไม่
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
35. มาตรา 41 วรรค 2, 3 ตัวอย่าง นาย ก. อยู่ในประเทศไทยตลอดปีภาษี และมีเงินปันผล ต่างประเทศในปี 2550 แต่นำกลับเข้ามาในปี 2551 ต้องเสียภาษีหรือไม่ เนื่องจากเป็นเงินได้พึง ประเมินในปีภาษีที่ล่วงมาแล้ว
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
36. ลงทุนหุ้นต่างประเทศ 1 ล้านเหรียญ เดือนสิงหาคม 2551 ณ 31 ธันวาคม 2551 ราคาหุ้น ไม่เปลี่ยนแปลง นั่นคือ มูลค่าหุ้นยังเป็น 1 ล้านเหรียญในเดือนกรกฎาคม 2552 ขายเงินลงทุน ได้เงินกลับมา1.2 ล้านเหรียญ แล้วนำกลับเข้ามาในประเทศถามว่า ต้องเสียภาษีไหม (เงินได้เกิดปี 2552 และนำกลับมาในปี 2552 หรือต้องดูตาม Cash Basis)
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
37. เงินได้เกิดในปีภาษีนั้น และนำกลับเข้ามาในปีภาษีนั้น จึงต้องนำมาคิดรวมเป็นเงินได้พึงประเมิน เพื่อเสียภาษี
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
38. อยากทราบว่าถ้าบุคคลธรรมดาที่มีถิ่นฐานในประเทศไทยลงทุนได้กำไร ในปีภาษี 2551 แต่นำเงิน กลับเข้าประเทศในปี 2552 แสดงว่าปี 2552 ไม่ต้องเสียภาษีใช่หรือไม่
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
39. บุคคลธรรมดาลงทุนต่างประเทศ ปี 2551 มีกำไรหุ้น 1 ล้านบาท ขาดทุน Commodity 0.2 ล้านบาท ถ้านำเงินกลับเข้ามาในประเทศภายในปี 2551ถามว่า ขาดทุน 0.2 ล้านบาท นำมาเป็น ส่วนหักรายได้ ได้หรือไม่ และฐานรายได้ กรณีนี้เป็น 1 ล้านบาท หรือ 0.8 ล้านบาทถามว่า เงินได้ จากต่างประเทศต้องรวมยื่นภาษีกับเงินได้ในประเทศหรือไม่
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80
40. กรณีลงทุนแล้วขาดทุน แต่มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เมื่อนำเข้ากลับเข้ามาต้องเสียภาษี หรือไม่
ตอบ: ระบบขอใช้วงเงินของสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เป็นระบบ Real Time ที่อนุมัติทันที หากวงเงินเก่าถูกใช้ไปแล้วเกินกว่าร้อยละ 80