คำถามที่พบบ่อย
คำถามที่พบบ่อย
🆀 คำถาม กรณี ภาษี สำหรับ “การลงทุนต่างประเทศผ่านกองทุนส่วนบุคคล"
🅰 1. กรณีแหล่งเงินได้นอกประเทศ จะเสียภาษี หากนำเงินได้กลับมาในปีภาษีเดียวกันขอเรียนถามว่า
“หากนำเงินได้กลับมาในปีถัดมา ก็จะไม่มีการเสียภาษีและไม่ต้องนำเงินได้ที่นำกลับมานั้นมาคิดเป็น
เงินได้พึงประเมินในการเสียภาษีเงินได้ในปีนั้นด้วยใช่หรือไม่”
ตอบ: ใช่
2. การลงทุนต่างประเทศ ควรลงทุนในนาม บุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล ดีกว่า ถ้าไม่คำนึงถึงภาษี
ตอบ: นิติบุคคล เนื่องจากได้รับวงเงินลงทุนมากกว่า
3. บริษัทจำกัด ลงทุนในต่างประเทศ ขาดทุนนำมา Credit ภาษี ได้หรือไม่
ตอบ: สามารถนำส่วนที่ขาดทุนมาหักเป็นค่าใช้จ่ายได้
4. มาตรา 41 วรรค 2, 3 ตัวอย่าง นาย ก. อยู่ในประเทศไทยตลอดปีภาษี และมีเงินปันผล ต่างประเทศในปี 2550 แต่นำกลับเข้ามาในปี 2551 ต้องเสียภาษีหรือไม่ เนื่องจากเป็นเงินได้พึง ประเมินในปีภาษีที่ล่วงมาแล้ว
ตอบ: ไม่ต้องนำมาคิดเป็นเงินได้พึงประเมินเพื่อเสียภาษี
5. ลงทุนหุ้นต่างประเทศ 1 ล้านเหรียญ เดือนสิงหาคม 2551 ณ 31 ธันวาคม 2551 ราคาหุ้น ไม่เปลี่ยนแปลง นั่นคือ มูลค่าหุ้นยังเป็น 1 ล้านเหรียญในเดือนกรกฎาคม 2552 ขายเงินลงทุน ได้เงินกลับมา1.2 ล้านเหรียญ แล้วนำกลับเข้ามาในประเทศถามว่า ต้องเสียภาษีไหม (เงินได้เกิดปี 2552 และนำกลับมาในปี 2552 หรือต้องดูตาม Cash Basis)
ตอบ: เงินได้เกิดในปีภาษีนั้น และนำกลับเข้ามาในปีภาษีนั้น จึงต้องนำมาคิดรวมเป็นเงินได้พึงประเมิน เพื่อเสียภาษี
6. เงินได้เกิดในปีภาษีนั้น และนำกลับเข้ามาในปีภาษีนั้น จึงต้องนำมาคิดรวมเป็นเงินได้พึงประเมิน เพื่อเสียภาษี
ตอบ: ไม่ต้องนำมาคิดเป็นเงินได้พึงประเมินเพื่อเสียภาษี
7. อยากทราบว่าถ้าบุคคลธรรมดาที่มีถิ่นฐานในประเทศไทยลงทุนได้กำไร ในปีภาษี 2551 แต่นำเงิน กลับเข้าประเทศในปี 2552 แสดงว่าปี 2552 ไม่ต้องเสียภาษีใช่หรือไม่
ตอบ: ส่วนที่ขาดทุนไม่สามารถนำมาหักออกจากกำไรได้ กรณีนี้ฐานรายได้คือ 1 ล้านบาท
8. บุคคลธรรมดาลงทุนต่างประเทศ ปี 2551 มีกำไรหุ้น 1 ล้านบาท ขาดทุน Commodity 0.2 ล้านบาท ถ้านำเงินกลับเข้ามาในประเทศภายในปี 2551ถามว่า ขาดทุน 0.2 ล้านบาท นำมาเป็น ส่วนหักรายได้ ได้หรือไม่ และฐานรายได้ กรณีนี้เป็น 1 ล้านบาท หรือ 0.8 ล้านบาทถามว่า เงินได้ จากต่างประเทศต้องรวมยื่นภาษีกับเงินได้ในประเทศหรือไม่
ตอบ: ใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยของธนาคารแห่งประเทศไทยในวันที่นำเงินกลับเข้าประเทศ
9. กรณีลงทุนแล้วขาดทุน แต่มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เมื่อนำเข้ากลับเข้ามาต้องเสียภาษี หรือไม่
ตอบ: หากนำเงินกลับข้ามปีภาษี บุคคลธรรมดาไม่ต้องนำมาคิดเป็นเงินได้พึงประเมินเพื่อเสียภาษี
ตอบ: ใช่
2. การลงทุนต่างประเทศ ควรลงทุนในนาม บุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล ดีกว่า ถ้าไม่คำนึงถึงภาษี
ตอบ: นิติบุคคล เนื่องจากได้รับวงเงินลงทุนมากกว่า
3. บริษัทจำกัด ลงทุนในต่างประเทศ ขาดทุนนำมา Credit ภาษี ได้หรือไม่
ตอบ: สามารถนำส่วนที่ขาดทุนมาหักเป็นค่าใช้จ่ายได้
4. มาตรา 41 วรรค 2, 3 ตัวอย่าง นาย ก. อยู่ในประเทศไทยตลอดปีภาษี และมีเงินปันผล ต่างประเทศในปี 2550 แต่นำกลับเข้ามาในปี 2551 ต้องเสียภาษีหรือไม่ เนื่องจากเป็นเงินได้พึง ประเมินในปีภาษีที่ล่วงมาแล้ว
ตอบ: ไม่ต้องนำมาคิดเป็นเงินได้พึงประเมินเพื่อเสียภาษี
5. ลงทุนหุ้นต่างประเทศ 1 ล้านเหรียญ เดือนสิงหาคม 2551 ณ 31 ธันวาคม 2551 ราคาหุ้น ไม่เปลี่ยนแปลง นั่นคือ มูลค่าหุ้นยังเป็น 1 ล้านเหรียญในเดือนกรกฎาคม 2552 ขายเงินลงทุน ได้เงินกลับมา1.2 ล้านเหรียญ แล้วนำกลับเข้ามาในประเทศถามว่า ต้องเสียภาษีไหม (เงินได้เกิดปี 2552 และนำกลับมาในปี 2552 หรือต้องดูตาม Cash Basis)
ตอบ: เงินได้เกิดในปีภาษีนั้น และนำกลับเข้ามาในปีภาษีนั้น จึงต้องนำมาคิดรวมเป็นเงินได้พึงประเมิน เพื่อเสียภาษี
6. เงินได้เกิดในปีภาษีนั้น และนำกลับเข้ามาในปีภาษีนั้น จึงต้องนำมาคิดรวมเป็นเงินได้พึงประเมิน เพื่อเสียภาษี
ตอบ: ไม่ต้องนำมาคิดเป็นเงินได้พึงประเมินเพื่อเสียภาษี
7. อยากทราบว่าถ้าบุคคลธรรมดาที่มีถิ่นฐานในประเทศไทยลงทุนได้กำไร ในปีภาษี 2551 แต่นำเงิน กลับเข้าประเทศในปี 2552 แสดงว่าปี 2552 ไม่ต้องเสียภาษีใช่หรือไม่
ตอบ: ส่วนที่ขาดทุนไม่สามารถนำมาหักออกจากกำไรได้ กรณีนี้ฐานรายได้คือ 1 ล้านบาท
8. บุคคลธรรมดาลงทุนต่างประเทศ ปี 2551 มีกำไรหุ้น 1 ล้านบาท ขาดทุน Commodity 0.2 ล้านบาท ถ้านำเงินกลับเข้ามาในประเทศภายในปี 2551ถามว่า ขาดทุน 0.2 ล้านบาท นำมาเป็น ส่วนหักรายได้ ได้หรือไม่ และฐานรายได้ กรณีนี้เป็น 1 ล้านบาท หรือ 0.8 ล้านบาทถามว่า เงินได้ จากต่างประเทศต้องรวมยื่นภาษีกับเงินได้ในประเทศหรือไม่
ตอบ: ใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยของธนาคารแห่งประเทศไทยในวันที่นำเงินกลับเข้าประเทศ
9. กรณีลงทุนแล้วขาดทุน แต่มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เมื่อนำเข้ากลับเข้ามาต้องเสียภาษี หรือไม่
ตอบ: หากนำเงินกลับข้ามปีภาษี บุคคลธรรมดาไม่ต้องนำมาคิดเป็นเงินได้พึงประเมินเพื่อเสียภาษี